คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4
จงเติมคำลงในช่องวางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์และถูกต้อง
1. คำว่า Communis แปลว่า คล้ายคลึงหรือร่วมกัน
2. การสื่อความหมาย หมายถึง กระบวนการส่งหรือถ่ายทอดความรู้ เนื้อหา สาระ ความรู้สึก นึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์จากบุคคลฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “ ผู้ส่ง ” ไปยังอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า “ ผู้รับ ”
3. Sender --->Message --->Channel---> Receiver
4. สาร หมายถึง เนื้อหา สาระ ความรู้สึก ทัศนคติ ทักษะ ประสบการณ์ที่มีอยู่ในผู้ส่ง หรือแหล่งกำเนิด
5. Elements หมายถึง องค์ประกอบย่อย ๆ พื้นฐานที่จำเป็นต้องมี
ตัวอย่าง เช่น สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ หรือสีแดง สีเหลือง เส้น เป็นต้น
6. Structure หมายถึง โครงสร้างที่เกิดจากการนำเอาองค์ประกอบย่อย ๆ มารวมกัน
ตัวอย่าง เช่น คำ ประโยค หรือสีสันของรูปร่าง รูปทรง ฯลฯ
7. Content หมายถึง ข้อมูลที่เป็นความรูสึกนึกคิด ความต้องการของผู้ส่ง
ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร สอดคล้องเหมาะสมกับอะไร
8. Treatment หมายถึง วิธีการเลือก การจักรหัสและเนื้อหาให้อยู่ในรูปแบบที่จะสามารถถ่ายทอดความต้องการของผู้รับอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่าง เช่น
9. Code หมายถึง กลุ่มสัญลักษณ์ที่ถูกนำมาจัดแทนความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ
ตัวอย่าง เช่น ภาษาพูด ภาษาดนตรี ภาพวาด กิริยา ท่าทาง
10. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายนอก เช่น เสียงดังรบกวน อากาศร้อน กลิ่นไม่พึงประสงค์ แสงแดด ฯลฯ
11. อุปสรรคหรือสิ่งรบกวนภายใน เช่น ความเครียด อารมณ์ขุ่นมัว อาการเจ็บป่วย ความวิตกกังวล
12. Encode หมายถึง ผู้ส่งสารขาดความสามารถในการเข้ารหัส12. Encode หมายถึง ผู้ส่งสารขาดความสามารถในการเข้ารหัส
13. Decode หมายถึง ความบกพร่องของสื่อหรือช่องทาง การเลือกใช้สื่อและช่องทางที่ไม่เหมาะสม
14. จงอธิบายการสื่อความหมายในการเรียนการสอนมาให้ครบถ้วนและถูกต้อง
ผู้ส่ง › สาร › ช่องทาง › ผู้รับ
15. จงอธิบายถึงความล้มเหลวของการสื่อสารในการเรียนการสอน
1. ผู้ส่งสารขาดความสามารถในการเข้ารหัส(eneode)หรือแปลความต้องการของตนเป็นสัญลักษณ์หรือสัญญาณต่างๆได้
2. ความบกพร่องของสื่อและช่องทาง การเลือกใช้สื่อและช่องทางที่ไม่เหมาะสม จะทำให้ประสิทธิภาพของการสื่อความหมายลดลงได้
3. อุปสรรคจากสิ่งรบกวน
4. ผู้รับขาดความสามารถในการถอดรหัสสาร
5. อุปสรรคทางด้านสาร
วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2550
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น